รายงานการออกแบบพัฒนาตัวอักษร สำหรับงาน
Gift on the moon 2016
วิชา การออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์
โดย
นายกุลพัชร แหลมกล้า รหัสนักศึกษา 5711307016
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
เสนอ
ผ.ศ.ประชิด ทิณบุตร
สาขาวิชาศิลปกรรม(ออกแบบนิเทศศิลป์)
ภาควิชามนุษยศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
เสื้อสกีนลาย “Chandrakasem” รูปสุนัขจิ้งจอก
ส.1(กรณีศึกษาเรียนรู้)ข้อดี–ข้อเสียของการ สกรีนเสื้อ แบบต่างๆ
เป็นที่รู้กันดีอยู่ว่าการสกรีนเสื้อนั้นมีอยู่หลายต่อหลายแบบ ไล่ตั้งแต่การอาศัยการทำบล็อกสกรีนแล้วใช้วิธีการปาดสีก่อนจะนำไปเป่าให้แห้ง ซึ่งนั่นเป็นวิธีการทำสกรีนเสื้อในรูปแบบเก่า ส่วนอีกวิธีหนึ่งนั่นก็คือการใช้วิธีสกรีนร้อนและวิธีสุดท้ายที่พึ่งจะมีมาในยุคหลังๆนั่นก็คือ การสกรีนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ จากนี้ไปเราจะมาจำแนกว่าการสกรีนแต่ละแบบนั้นมีข้อดีข้อด้อยแตกต่างกันอย่างไร
การสกรีนแบบทำบล็อกสกรีน
เป็นวิธีที่ใช้สีปาดลงบนบล็อกสกรีนที่ทาบบนเนื้อผ้า วิธีการนี้ หากว่าจะใช้สีหลายสีก็จะต้องเพิ่มจำนวนบล็อกสกรีนตามไปด้วย และข้อดีข้อด้อยของการสกรีนเสื้อด้วยวิธีนี้ ก็มีดังต่อไปนี้
ข้อดี
สีสวย เงางมและมีความทนทาน สกรีนไม่ลอกง่ายๆ
เครื่องมือที่ใช้ในการแกะบล็อกนั้นจะมีราคาถูก และสามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาดทั่วไป
ข้อเสีย
สกรีนแบบไล่สีได้ยาก
เหมาะกับการใช้สกรีนเสื้อแบบจำนวนมาก เนื่องจากต้องสร้างบล็อกสกรีน เพื่อความคุ้มค่ากับการลงทุนและการเสียเวลาในช่วงที่แกะบล็อก
การสกรีนแบบรีดร้อน
เทคนิกการสกรีนเสื้อแบบรีดร้อน เป็นการใช้กระดาษเคมี นำไป Print ภาพที่ต้องการสกรีน และนำไปเข้าเครื่องรีดร้อน รีดภาพลงบนเสื้อที่ต้องการ
ข้อดี
สกรีนได้ไม่จำกัดสีเพราะไม่ต้องแกะบล็อก
สามารถสกรีนเสื้อจำนวนน้อยได้
ข้อเสีย
สีที่สกรีนลงบนเสื้อนั้นจะลอกง่าย ไม่มีความคงทนเท่าแบบสกรีนแบบบล็อก
กระดาษเคมีและสีสำหรับ Print นั้นจะมีราคาสูงมาก หากมีจำนวนเสื้อที่ต้องสกรีนมาก จึงไม่ควรเลือกวิธีการสกรีนแบบสกรีนร้อน เพราะเปลืองงบประมาณ
การสกรีนแบบ DTG (Direct to Garment)
การสกรีนเสื้อด้วยวิธีคล้ายคลึงกับการพิมพ์เอกสารหรือพิมพ์รูปจากเครื่อง Printer โดยตรง ซึ่งเป็นวิธีการสกรีนที่เป็นที่นิยมมากในช่วงยุคปัจจุบัน ใช้วิธีการนำเสื้อเข้าสู่เครื่องพิมพ์สกรีนโดยตรง
ข้อดี
การสกรีนเสื้อด้วยวิธีคล้ายคลึงกับการพิมพ์เอกสารหรือพิมพ์รูปจากเครื่อง Printer โดยตรง ซึ่งเป็นวิธีการสกรีนที่เป็นที่นิยมมากในช่วงยุคปัจจุบัน ใช้วิธีการนำเสื้อเข้าสู่เครื่องพิมพ์สกรีนโดยตรง
ข้อดี
สีที่สกรีนนั้นมีความทนทานกว่าแบบสีสกรีนแบบรีดร้อน
สีบนเนื้อผ้าจะเรียบเนียนไปกับเนื้อผ้า
ข้อเสีย
สีจะไม่ค่อยชัดมากนักหากเทียบกับการสกรีนรูปแบบอื่นๆ
เครื่องพิมพ์สกรีนมีราคาแพงมาก
สีบนเนื้อผ้าจะเรียบเนียนไปกับเนื้อผ้า
ข้อเสีย
สีจะไม่ค่อยชัดมากนักหากเทียบกับการสกรีนรูปแบบอื่นๆ
เครื่องพิมพ์สกรีนมีราคาแพงมาก
สกรีนเสื้อ – การทำบล็อกสกรีน ทำได้อย่างไร
การทำบล็อกสกรีน ทำได้อย่างไร
หลายๆคนอาจจะสงสัยว่า ในการสกรีนเสื้อยืดนั้น การสกรีนลายสวยๆได้นั้น เขาเริ่มต้นทำกันอย่างไร สิ่งแรกที่ต้องเรียนรู้คือ การทำบล๊อกสกรีน นั่นเองครับ กระบวนการทำบล็อกสำหรับสกรีนเสื้อนั้น เขามีวิธีในการทำกันอย่างไร วันนี้เราจะมาสาธิตวิธีในการทำบล็อกสกรีนอย่างง่ายให้ได้ดูกันครับ และเพื่อนๆสามารถนำไปทดลองทำกันได้อีกด้วย
อุปกรณ์ที่จำเป็นในการทำบล็อกสกรีน
สำหรับอุปกรณ์จำพวกนี้ เป็นอุปกรณ์หลักที่บริษัทหรือโรงงานรับทำเสื้อสกรีนรับทำ เขาใช้กันครับ ซึ่งเราเองก็สามารถหาซื้อมาทดลองใช้เองได้เช่นกัน
กาวอัดสกรีน 1 ขวด
น้ำยาไวแสง 1 ขวด
บล็อกสกรีนที่ขึงด้วยผ้าสกรีนเรียบร้อยแล้ว
รางปาดกาวอัด
ฟิลม์ Artwork
ขั้นตอนการทำบล็อกสกรีน
การทำบล๊อกสกรีนนั้ควรทำทุกขั้นตอนในห้องที่ไม่มีแสง UV ควรใช้หลอดไฟสีเหลือง
เริ่มต้นนั้น ให้เราผสมกาวอัดสกรีนกับน้ำยาไวแสงเข้าด้วยกัน โดยทั่วไปแล้ว อัตราส่วนที่สำคัญคือ กาวอัพสกรีน 5 ส่วน และน้ำยาไวแสง 1 ขวด เมื่อกะปริมาณได้แล้ว ให้เราผสมให้ทั้ง 2 อย่างเข้ากัน กาวอัดบล๊อคสกรีนนั้นเมื่อผสมแล้วจะมีอายุไม่นาน ควรใช้ให้หมดภายในวันเดียวกัน
นำกาวอัดบล๊อคสกรีนที่ผสมเรียบร้อยแล้ว เทลงบนรางปาดกาวอัด
ตั้งบล๊อคสกรีนไว้พิงกับกำแพง และนำกาวอัดที่อยู่บนราง เอียงปาดกดลงบนผ้าสกรีน และรูดขึ้นจากล่างขึ้นบน ทำแบบนี้ทั้ง 2 ด้าน ของผ้าสกรีน
เราจะต้องทำให้บล็อกสกรีนที่เราทากาวไว้นั้น แห้งสนิท ตั้งไว้ให้แห้ง หรือ นำไดร์เป่าผมมาใช้ และเป่าให้จุดที่ทากาวนั้นแห้งสนิททั้ง 2 ด้าน และหลังจากนั้นก็นำไปเก็บไว้ในที่มืด เหตุผลที่ต้องนำไปเก็บในที่มืดเพราะ บล็อกสกรีนที่ฉาบกาวแล้ว จะมีปฏิกิริยาที่ไวต่อแสง
นำแบบที่เขียนสกรีนไว้แล้วบนกระดาษไข หรือ ฟิลม์ Artwork มาฉาบลงบนบล็อกสกรีนด้วยการอัดกาว จากนั้นจึงนำไปฉายแสงตามระยะเวลาที่กำหนด และขั้นตอนสุดท้ายคือการนำบล็อกสกรีนที่ทำเสร็จนั้นไปล้างน้ำเปล่าให้สะอาด และฉีดน้ำเก็บรายละเอียด
สกรีนเสื้อ – สีที่เหมาะในการใช้สกรีนเสื้อ
ประเภทของสีสกรีนเสื้อ
สีเชื้อน้ำ
สีประเภทแรกที่เราจะอธิบายถึงกระบวนการของมันนั่นก็คือสีประเภท “เชื้อน้ำ” สีสกรีนประเภทนี้มีคุณสมบัติเป็นตัวทำละลายเนื้อสี และแป้งพิมพ์ให้เป็นเนื้อเดียวกัน สำหรับแป้งพิมพ์สำหรับไว้เป็นส่วนผสมของสีสกรีนนั้น จะมีส่วนผสมที่สำคัญของสาร Binder ที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการยึดเกาะ มันเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยเพิ่มการยึดติดบนเส้นใยของเนื้อผ้าที่จะใช้สกรีน และสำหรับสีเชื้อน้ำนั้นยังแบ่งออกเป็นอีก 4 ประเภทใหญ่ๆคือ
สีสกรีนเสื้อแบบสีจม
เนื้อสีชนิดนี้จะมีความละเอียดสูง และสามารถซึมลงไปถึงเส้นใยผ้าได้อีกด้วย มีความโปร่งใส และเมื่อสกรีนเสร็จ หากลองจับดู จะพบว่าเนื้อนั้นเรียบเนียนจนเหมือนกับว่าสีนั้นรวมกันเป็นส่วนเดียวกันกับเส้นใยผ้าไปด้วย
สีสกรีนเสื้อแบบสีลอย
เนื้อสีประเภทนี้จะมีความละเอียดน้อยกว่าสีจม แต่เมื่อสกรีนแล้วจะพบว่าเนื้อสีนั้นจะมีความหนามากกว่าแบบสีจม สีประเภทนี้มีความทึบแสง เหมาะที่จะไปสกรีนลงบนเสื้อสีเข้มๆ
สีสกรีนเสื้อแบบสียาง
สีชนิดนี้มีสรรพคุณเหมือนกับยางยืดนั่นก็คือ มีความยืดหยุ่นสูง มีความเงา เมื่อลองดึงผ้าที่สกรีนนั้น จะเห็นว่าเนื้อสีที่สกรีนนั้นยืดออกด้วย และยังมีความสามารถในการเกาะบนเนื้อผ้าที่ดีเหมือนกับสีลอย
สีสกรีนเสื้อแบบสีนูน
สีชนิดนี้ เกิดจากการนำสีไปอบด้วยความร้อนสูง และจะทำให้เกิดสีที่มีลักษณะนูนเป็น 3 มิติ
สีพลาสติซอล
สีประเภทนี้จะอาศัยน้ำมันเป็นตัวทำละลาย ซึ่งสีพลาสติซอล มีส่วนประกอบมาจาก PVC และ Plasticizer สีประเภทนี้มีการทำปฏิกิริยากับความร้อน จึงทำให้สามารถนำไปเคลือบบนวัตถุต่างๆได้ นั่นจึงเป็นเหตุที่ทำให้สีชนิดนี้นิยมนำไปสกรีนเสื้อผ้าได้บนผ้าหลายๆชนิด หรือวัตถุต่างๆ เยื้อสีมีความเงางาม และสดใส ที่สำคัญคือมีความหนาของลวดลายที่เคลือบ เนื้อสีของสีประเภทนี้ เมื่อนำไปสกรีน จะแห้งเมื่อเก็บไว้ในอุณหภูมิประมาณ 130 – 160 องศา
ส.2(สร้างสรรค์ตามสมมติฐาน)
หลายๆคนอาจจะสงสัยว่า ในการสกรีนเสื้อยืดนั้น การสกรีนลายสวยๆได้นั้น เขาเริ่มต้นทำกันอย่างไร สิ่งแรกที่ต้องเรียนรู้คือ การทำบล๊อกสกรีน นั่นเองครับ กระบวนการทำบล็อกสำหรับสกรีนเสื้อนั้น เขามีวิธีในการทำกันอย่างไร วันนี้เราจะมาสาธิตวิธีในการทำบล็อกสกรีนอย่างง่ายให้ได้ดูกันครับ และเพื่อนๆสามารถนำไปทดลองทำกันได้อีกด้วย
อุปกรณ์ที่จำเป็นในการทำบล็อกสกรีน
สำหรับอุปกรณ์จำพวกนี้ เป็นอุปกรณ์หลักที่บริษัทหรือโรงงานรับทำเสื้อสกรีนรับทำ เขาใช้กันครับ ซึ่งเราเองก็สามารถหาซื้อมาทดลองใช้เองได้เช่นกัน
กาวอัดสกรีน 1 ขวด
น้ำยาไวแสง 1 ขวด
บล็อกสกรีนที่ขึงด้วยผ้าสกรีนเรียบร้อยแล้ว
รางปาดกาวอัด
ฟิลม์ Artwork
ขั้นตอนการทำบล็อกสกรีน
การทำบล๊อกสกรีนนั้ควรทำทุกขั้นตอนในห้องที่ไม่มีแสง UV ควรใช้หลอดไฟสีเหลือง
เริ่มต้นนั้น ให้เราผสมกาวอัดสกรีนกับน้ำยาไวแสงเข้าด้วยกัน โดยทั่วไปแล้ว อัตราส่วนที่สำคัญคือ กาวอัพสกรีน 5 ส่วน และน้ำยาไวแสง 1 ขวด เมื่อกะปริมาณได้แล้ว ให้เราผสมให้ทั้ง 2 อย่างเข้ากัน กาวอัดบล๊อคสกรีนนั้นเมื่อผสมแล้วจะมีอายุไม่นาน ควรใช้ให้หมดภายในวันเดียวกัน
นำกาวอัดบล๊อคสกรีนที่ผสมเรียบร้อยแล้ว เทลงบนรางปาดกาวอัด
ตั้งบล๊อคสกรีนไว้พิงกับกำแพง และนำกาวอัดที่อยู่บนราง เอียงปาดกดลงบนผ้าสกรีน และรูดขึ้นจากล่างขึ้นบน ทำแบบนี้ทั้ง 2 ด้าน ของผ้าสกรีน
เราจะต้องทำให้บล็อกสกรีนที่เราทากาวไว้นั้น แห้งสนิท ตั้งไว้ให้แห้ง หรือ นำไดร์เป่าผมมาใช้ และเป่าให้จุดที่ทากาวนั้นแห้งสนิททั้ง 2 ด้าน และหลังจากนั้นก็นำไปเก็บไว้ในที่มืด เหตุผลที่ต้องนำไปเก็บในที่มืดเพราะ บล็อกสกรีนที่ฉาบกาวแล้ว จะมีปฏิกิริยาที่ไวต่อแสง
นำแบบที่เขียนสกรีนไว้แล้วบนกระดาษไข หรือ ฟิลม์ Artwork มาฉาบลงบนบล็อกสกรีนด้วยการอัดกาว จากนั้นจึงนำไปฉายแสงตามระยะเวลาที่กำหนด และขั้นตอนสุดท้ายคือการนำบล็อกสกรีนที่ทำเสร็จนั้นไปล้างน้ำเปล่าให้สะอาด และฉีดน้ำเก็บรายละเอียด
สกรีนเสื้อ – สีที่เหมาะในการใช้สกรีนเสื้อ
สีที่เหมาะในการใช้ สกรีนเสื้อ
ข้อสำคัญของการสกรีนเสื้อยืดนั้น นอกเหนือจากการทำบล็อกสกรีนแล้ว สิ่งที่จะขาดไม่ได้ที่จะทำให้การทำเสื้อสมบูรณ์นั้นก็คือ การใช้สีในการสกรีนเสื้อยืดนั่นเอง แต่ว่าการเลือกใช้สีนั้น ก็จะมีความเหมาะสมที่แตกต่างกันไป วันนี้เราจะมาแนะนำสีที่ใช้ในการสกรีนเสื้อกันครับประเภทของสีสกรีนเสื้อ
สีเชื้อน้ำ
สีประเภทแรกที่เราจะอธิบายถึงกระบวนการของมันนั่นก็คือสีประเภท “เชื้อน้ำ” สีสกรีนประเภทนี้มีคุณสมบัติเป็นตัวทำละลายเนื้อสี และแป้งพิมพ์ให้เป็นเนื้อเดียวกัน สำหรับแป้งพิมพ์สำหรับไว้เป็นส่วนผสมของสีสกรีนนั้น จะมีส่วนผสมที่สำคัญของสาร Binder ที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการยึดเกาะ มันเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยเพิ่มการยึดติดบนเส้นใยของเนื้อผ้าที่จะใช้สกรีน และสำหรับสีเชื้อน้ำนั้นยังแบ่งออกเป็นอีก 4 ประเภทใหญ่ๆคือ
สีสกรีนเสื้อแบบสีจม
เนื้อสีชนิดนี้จะมีความละเอียดสูง และสามารถซึมลงไปถึงเส้นใยผ้าได้อีกด้วย มีความโปร่งใส และเมื่อสกรีนเสร็จ หากลองจับดู จะพบว่าเนื้อนั้นเรียบเนียนจนเหมือนกับว่าสีนั้นรวมกันเป็นส่วนเดียวกันกับเส้นใยผ้าไปด้วย
สีสกรีนเสื้อแบบสีลอย
เนื้อสีประเภทนี้จะมีความละเอียดน้อยกว่าสีจม แต่เมื่อสกรีนแล้วจะพบว่าเนื้อสีนั้นจะมีความหนามากกว่าแบบสีจม สีประเภทนี้มีความทึบแสง เหมาะที่จะไปสกรีนลงบนเสื้อสีเข้มๆ
สีสกรีนเสื้อแบบสียาง
สีชนิดนี้มีสรรพคุณเหมือนกับยางยืดนั่นก็คือ มีความยืดหยุ่นสูง มีความเงา เมื่อลองดึงผ้าที่สกรีนนั้น จะเห็นว่าเนื้อสีที่สกรีนนั้นยืดออกด้วย และยังมีความสามารถในการเกาะบนเนื้อผ้าที่ดีเหมือนกับสีลอย
สีสกรีนเสื้อแบบสีนูน
สีชนิดนี้ เกิดจากการนำสีไปอบด้วยความร้อนสูง และจะทำให้เกิดสีที่มีลักษณะนูนเป็น 3 มิติ
สีพลาสติซอล
สีประเภทนี้จะอาศัยน้ำมันเป็นตัวทำละลาย ซึ่งสีพลาสติซอล มีส่วนประกอบมาจาก PVC และ Plasticizer สีประเภทนี้มีการทำปฏิกิริยากับความร้อน จึงทำให้สามารถนำไปเคลือบบนวัตถุต่างๆได้ นั่นจึงเป็นเหตุที่ทำให้สีชนิดนี้นิยมนำไปสกรีนเสื้อผ้าได้บนผ้าหลายๆชนิด หรือวัตถุต่างๆ เยื้อสีมีความเงางาม และสดใส ที่สำคัญคือมีความหนาของลวดลายที่เคลือบ เนื้อสีของสีประเภทนี้ เมื่อนำไปสกรีน จะแห้งเมื่อเก็บไว้ในอุณหภูมิประมาณ 130 – 160 องศา
ส.2(สร้างสรรค์ตามสมมติฐาน)
แบบสเก็ต (skat idea)
แนวคิด (concept)
เป็นเสื้อยืดสกีนลาย ซึ้งลายที่นำมาสกีนเป็นลายที่ได้ออกแบบเองโดยที่ นำคำว่า “Chandrakasam” กับคำว่า “Gift on the moon2016” และตัวย่อของมหาลัย ซึ่งก็คือ ‘CRU’ โดยคำทั้งสามนี้ได้ถูกออกแบบให้อยู่รวม กันอย่างลงตัวบนรูปทรงที่ดูเป็น “สุนัขจิ้งจอก” เพราะสุนัขจิ้งจอกคือสัญลักษณ์ ของกลุ่ม และบนหัวของสนุขจิ้งจอกนั้นสวมหมวกแม่มดอยู่เพื่อแสดงถึงคอนเซปของงานกิ๊ฟในปีนี้
ส.3(สรุปผล)
สั่งสกีนทั้งหมด 12 ตัว สีดำ 6 ตัว สีขาว 6 ตัว
ค่าสกีน รวมเป็นเงิน 1200 บาท เฉลี่ยตกตัวละ 100 บาท
รายงานการขาย
ราคาเสื้อที่ขายตั้งไว้ 199 บาท
วันที่1
-ยอดขาย 2 ตัว ตัวละ199 บาท เป็นเงิน 398 บาท
วันที่2
-ยอดขาย 5 ตัว ตัวละ179 บาท เป็นเงิน 895 บาท
วันที่3
-ยอดขาย 2 ตัว ตัวละ159 บาท เป็นเงิน 318 บาท
ขายผ่านเฟส
-ยอดขาย 2 ตัว ตัวละ179 บาท เป็นเงิน 358 บาท
รวมยอดขาย 11 ตัว
-398+895+318+358=1969 บาท
เงินที่ขายได้-ค่าต้นทุน(ค่าสกีนเสื้อ)=กำไร
1960-1200=760 บาท
แนวคิด (concept)
เป็นเสื้อยืดสกีนลาย ซึ้งลายที่นำมาสกีนเป็นลายที่ได้ออกแบบเองโดยที่ นำคำว่า “Chandrakasam” กับคำว่า “Gift on the moon2016” และตัวย่อของมหาลัย ซึ่งก็คือ ‘CRU’ โดยคำทั้งสามนี้ได้ถูกออกแบบให้อยู่รวม กันอย่างลงตัวบนรูปทรงที่ดูเป็น “สุนัขจิ้งจอก” เพราะสุนัขจิ้งจอกคือสัญลักษณ์ ของกลุ่ม และบนหัวของสนุขจิ้งจอกนั้นสวมหมวกแม่มดอยู่เพื่อแสดงถึงคอนเซปของงานกิ๊ฟในปีนี้
ดราฟลายตามแบบสเก็ตเพื่อเป็นแบบสำหรับส่งร้านสกีน
ภาพประกอบการทำสกีน
ส.3(สรุปผล)
เสื้อที่ทำการสกีนเสร็จเรียบร้อยแล้ว
(ใส่โดย นายชัยธัช)
สั่งสกีนทั้งหมด 12 ตัว สีดำ 6 ตัว สีขาว 6 ตัว
ค่าสกีน รวมเป็นเงิน 1200 บาท เฉลี่ยตกตัวละ 100 บาท
ใบเสร็จค่าทำสกีน
รายงานการขาย
ราคาเสื้อที่ขายตั้งไว้ 199 บาท
วันที่1
-ยอดขาย 2 ตัว ตัวละ199 บาท เป็นเงิน 398 บาท
วันที่2
-ยอดขาย 5 ตัว ตัวละ179 บาท เป็นเงิน 895 บาท
วันที่3
-ยอดขาย 2 ตัว ตัวละ159 บาท เป็นเงิน 318 บาท
ขายผ่านเฟส
-ยอดขาย 2 ตัว ตัวละ179 บาท เป็นเงิน 358 บาท
รวมยอดขาย 11 ตัว
-398+895+318+358=1969 บาท
เงินที่ขายได้-ค่าต้นทุน(ค่าสกีนเสื้อ)=กำไร
1960-1200=760 บาท
ภาพบรรยากาศการขายทั้ง3วัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น